วันอาทิตย์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน`11

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่ 30    เดือน  พฤศจิกายน  ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. กิจกรรมความคิดสร้างสรรค์
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

  • นำเสนอภาพกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์



                                                                          
ทำท่าบริหารสมอง
  1. นวดไหปลาร้า
  2. นวดขมับ
  3. นวดหู
  4. มือซ้ายหูขวา มือขวาหูซ้าย
  5. มือซ้ายแตะจมูก มือขวาจับติ่งหู
  6. มือซ้ายจีบ มือขวาแอล
  7. นับ 1-10
  8. ลูบและทุบ
  9. ผสานนิ้วผ่อนคลาย


   
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

การออกแบบ
ความคิดสร้างสรรค์

Adoption( การนำไปใช้)
นำกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ประกอบการสอน

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สนุกกับการทำกิจกรรม

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจทำไม้ชี่้

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
ออกแบบกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์ได้สวยงาม

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
เสริมแรงนักศึกษาได้ดี


บันทึกอนุทิน10

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่ 16    เดือน  พฤศจิกายน   ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. ศิลปะสร้างสรรค์

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)


ศิลปะสร้างสรรค์
                              

                              

พัฒนาการทางศิลปะ (Lowenfeld and Britain)

ความหมาย

  • เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน
  • การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ
ขั้นขีดเขียน (Scribbling Stage)
  • 2-4 ปี
  • ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์
  • เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
  • ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
  • บำบัดอารมณ์
  • ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
  • แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
ขั้นก่อนมีแบบแผน (Preschemalic Stage)
  • 4-7 ปี
  • ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง
ขั้นใช้สัญลักษณ์ (Schemalic Stage)
  • 7-9 ปี
  • คล้ายของจริง
หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
  • กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
  • หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
  • ชื่นชมม
  • เตรียมอุปกรณ์
  • ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
  • หลีกเลี่ยงคำถาม "กำลังทำอะไร" หรือ "เดาสิ่งที่เด็กทำ"
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
  • กิจกรรมสี
  • การปั้น
  • การตัดปะ
  • การพับ 
  • การประดิษฐ์
 
Skill (ทักษะที่ได้รับ)
การสร้างความรู้ด้วยตนเอง

Adoption( การนำไปใช้)
นำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเด็ก

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
เย็นสบาย

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจเรียน
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
แต่งตัวเรียบร้อย

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
มีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย อาจารย์พูดชัดเจน

บันทึกอนุทิน9

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่  9   เดือน  พฤศจิกายน   ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223

Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. สอบเขียนกระดาน
  2. กิจกรรมเคลื่อนไหว
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

สอบเขียนกระดาน 


แบ่งกลุ่ม 5-6 คน ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
     กลุ่มเราได้หน่วย ต้นไม้
ขั้นนำ
  • ให้เด็กหาบริเวณพื้นที่เฉพาะตัว
  • ให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดทันที
ขั้นกิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา 
ขั้นกิจกรรมผ่อนคลาย

   
Skill (ทักษะที่ได้รับ)
การเคลื่อนไหวร่างกาย
การเขียนกระดาน

Adoption( การนำไปใช้)
นำกิจกรรมเคลื่อนไหวไปใช้เพื่อให้เด้กได้เคลื่อนไหวและมีจินตนาการ

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สนุกกับการแปลงร่างเป็นอย่างอื่นในกิจกรรมเคลื่อนไหว

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจทำกิจกรรม

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
สนุกสนาน

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
มีกิจกรรมที่หลากหลายไม่น่าเบื่อ

บันทึกอนุทิน8

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่   2  เดือน  พฤศจิกายน   ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. ฝึกเขียนกระดาน
  2. ร้องเพลงใหม่ Where is Thumbkin?

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

แบ่งกลุ่มฝึกเขียนกระดาน





ร้องเพลงใหม่ Where is Thumbkin?

Where is Thumbkin?
Where is Thumbkin?
Here I am! Here I am!

*How are you today, sir?
Very well, I thank you
Run away. Run away.

Where is Pointer?
Where is Pointer?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Middleman?
Where is Middleman?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Ringman?
Where is Ringman?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Pinkie?
Where is Pinkie?
Here I am! Here I am!
(*)


   
Skill (ทักษะที่ได้รับ)
การร้องเพลง
การฝึกเขียนกระดาน

Adoption( การนำไปใช้)
นำเพลงไปใช้ในการเร้าความสนใจก่อนเริ่มสอน

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สะอาด เย็นสบาย

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจเรียนไม่เสียงดัง

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
มาเรียนตรงเวลา

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
ฝึกให้นักศึกษาได้มีความพร้อมกิจกรรมดี

ึบันทึกอนุทิน7

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่ 26    เดือน  ตุลาคม   ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223





Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. แจกสีให้คนล่ะ 1 กล่อง
  2. กิจกรรมประดิษฐ์ไม้กายสิทธิ์

Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)



























   
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

การออกแบบ
ความคิดสร้างสรรค์

Adoption( การนำไปใช้)
นำไม้ชี้ไปใช้ประกอบการสอน

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สนุกกับการทำกิจกรรม

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจทำไม้ชี่้

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
ออกแบบไม้ชี้ได้สวยงาม

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
เสริมแรงนักศึกษาได้ดี


บันทึกอนุทิน6

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่   6  เดือน ตุลาคม    ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  • ฟังเสียงแล้วคาดเดา
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

เสียงเครื่องดนตรี

  1. ไวโอลิน
  2. แซ็กโซโฟน
  3. เม้าท์ออกแกน
  4. ฉาบ
  5. ทอมโบน
  6. กีต้าร์
  7. ..
  8. เปียโน
  9. แตร
  10. ฟรุ๊ต
  11. นิ้งหน่อง
  12. ทรัมเป็ต
  13. กลองชุด
  14. เชลโล
  15. ปี่สก็อต
กิจกรรมฟังเสียงสัตว์
  1. สุนัข
  2. แมว
  3. หมู
  4. วัว
  5. ไก่ตัวผู้
  6. ม้า
  7. ไก่ตัวเมีย
  8. ลา
  9. แพะ
  10. เป็ด
  11. นก
กิจกรรมเสียงกระซิบ
แรดอย่างสงบ ตบเมื่อจำเป็น ตอแหลอย่างเยือกเย็น เพราะเราเป็นไฮโซ

   
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

การฟัง
การจินตนาการ
การคิดสร้างสรรค์

Adoption( การนำไปใช้)
นำกิจกรรมเสียงกระซิบไปจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กได้คิดและจินตนาการ

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สนุกกับการคาดเดา

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
แต่งตัวเรียบร้อย
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
ตั้งใจทำกิจกรรมไม่เสียงดัง
Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
ใช้สื่อประกอบกิจกรรมดี  อาจารย์แต่งตัวเรียบร้อย


บันทึกอนุทิน5

บันทึกอนุทิน
วันจันทร์   ที่   5  เดือน  ตุลาคม   ปี `2558
วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
กลุ่มเรียน  101  ห้อง 223
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  1. กิจกรรมนักมายากลระดับโลก
  2. การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  3.  กิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
  4.  กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)

กิจกรรมนักมายากลระดับโลก
  1. หลังเวทีกำลังขึ้นแสดงโชว์มีความรู้สึกอย่างไร
  2. ออกไปโชวแล้วแต่ขณะเล่นเรียนผู้ชมขึ้นมาเล่นจะเลือกใคร
  3. โดยเพื่อนจับผิดได้จะกระซิบว่า
  4. หลังจากแสดงเสร็จนึกย้องกลับไปแล้วรู้สึกอย่างไร


การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
การเล่น

  • กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น  
Piaget 
     กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
  1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
  2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
  • ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ                                                                                                                                                       ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
  • การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม
 การเล่นในร่ม   
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง      
 การเล่นสรรค์สร้าง
  •  การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
  1.  สภาวะการเรียนรู้
  2.  พัฒนาการของการรู้คิด
  3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล
 หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
  • S = Science
  • T = Tecnology
  • E = Engineering
  • M = Mathematics 
                                                                   
 กิจกรรมนักออกแบบอาคาร 

แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
อุปกรณ์
  1. ดินน้ำมัน
  2. ไม้จิ้มฟัน
                                                                   




 กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ
อุปกรณ์ 
  1. กระดาษ 1 แผ่น
  2. ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้
 




Skill (ทักษะที่ได้รับ)
การออกแบบบ้าน
การคิดสร้างสรรค์

Adoption( การนำไปใช้)
นำกิจกรรมเช่นเรือน้อยให้เด้กทำเพื่อแสดงความคิดสร้างสรรค์

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
สนุกกับการทำกิจกรรม

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจทำกิจกรรม

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
ตั้งใจทำกิจกรรมตื่นเต้น

Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
ใช้กิจกรรมสนุกไม่น่าเบื่อ